วันศุกร์ที่ 4 ตุลาคม พ.ศ. 2556

เราจะเป็นช่างภาพมืออาชีพได้ไหม


How To Know You Are Ready To Become A Professional Photographer


.. จะรู้ได้งัยฟ่ะ ว่าพร้อมที่จะเป็นช่างภาพมืออาชีพ ..



1. You know your equipment like the back of your hand.


รู้จักอุปกรณ์ เหมือนกับหลังมือเมียตัวเอง

You should be well versed in your camera settings, lenses, lighting equipment, etc. Getting a good image is about skill and experience, not luck. So know your stuff before you start charging for your services.

คุณควรต้องรู้จริง รู้ชัด รู้นอกรู้ในทุึกอย่างที่เกี่ยวกับกล้อง การตั้งค่ากล้อง เลนส์ อุปกรณ์แสงสว่าง ฯลฯ

การได้ภาพดีๆ แจ่มๆ มาจากทักษะ (สกิล) และประสบการณ์ (เลือด+หยาดเหงื่อ+น้ำตา) ล้วนๆ
!! ไม่มีดวงเฟ้ย!!


2. You know that being a Professional Photographer is much more than understanding how to take photographs.


ต้องรู้นะจ๊ะว่า เป็น**มืออาชีพ** มันมีอะไรมากกว่า ยกกล้องขึ้นถ่ายภาพหว่ะ

When you make photography your business, you are actually only shooting a small percentage of the time.

มืออาชีพถ่ายภาพตัวจริง เขาใช้เวลาถ่ายภาพกันกระจึ๋งเดียว

At some point in your career, you can choose to outsource or hire staff to do some of these activities,

ณ จุดหนึ่ง ในอาชีพถ่ายภาพของคุณ คุณ**ต้อง** เลือกที่จะหาคนมาทำงานบางอย่างแทน

but when you start out, a larger portion of your time will be filled with things like, communicating with clients and potential clients, culling and editing images, balancing your budget, selling products and services, marketing yourself and your business, fulfilling orders, and drafting client contracts.

งานอะไร?
งานที่คุณทำ ตอนเป็นมืออาชีพระดับไก่อ่อน เริ่มต้นใหม่ๆ

เช่น ติดต่อลูกค้า & ว่าที่ลูกค้า, ตกแต่งภาพ, ทำบัญชี, นำเสนอขายงานและบริการ, โฆษณาประชาสัมพันธ์งานและผลงาน, รับใบสั่ง, ร่างสัญญาตกลงงาน บลาๆๆๆๆๆ

ไม่ใช่ถ่ายรูปเฟ้ย!!

Being a Professional Photographer means being an Artist and a Business Person.

เป็นช่างภาพมืออาชีพ แปลว่า เป็นทั้งอาร์ตตัวพ่อ และนักธุรกิจ พร้อมๆ กัน

ไม่พร้อม เป็นได้แค่มือ "โปกูโตก"!


3. You have a Business Plan.


มีแผนงานธุรกิจที่**ชัดเจน**

You’ve answered critical questions, such as: Who is your target client? How will you market yourself and your business to your target client? What is your pricing strategy for Year 1? Year 2? What products will you sell? What kinds of services will you provide? How will you differentiate your business from others in your area?

ต้องตอบคำถามสำคัญๆร้อยแปดอย่างให้ได้ ก่อนประกาศว่า "อยาก"เป็นช่างภาพมืออาชีพ
- "ลูกค้าเป้าหมาย"คือใคร อยู่ไหน
- จะนำเสนอตัวเจ้า และฝีมือและผลงานของเจ้าให้เข้าตา"ลูกค้าเป้าหมาย"อย่างไร?
- ตั้งราคาค่าตัวในปีแรกเท่าไหร่ ปีถัดมาเท่าไหร่ (หรือแล้วแต่ลูกค้าเมตตา โยนเศษเงินมาให้?)
- อะไรคือผลงานหลักของเจ้า
- มีบริการอะไรให้มั่ง (อัดแถม, รีทัชทุกรูป, DVD สกรีนปก ฯลฯ)

ที่สำคัญ .. ต้องตอบคำถามให้ได้ว่า "ทำไมเขาต้องเลือกเมิง แทนที่จะเป็นตากล้องมืออาชีพคนอื่นๆ??!!??? "

Do this before you start your business. It will be harder to shift business strategies later

เริ่มก่อนทำ
ไม่ใช่มาคร่ำครวญตอนทำไปแล้ว แล้วชื่อดันขึ้นเว็บจ่าฯ

4. You’ve built a portfolio that represents your style and shows consistency.


ต้องสร้างพอร์ต(ฟอลิโอ้) เพื่อแสดง"สไตล์"ความเป็นตัวคุณ (บางคนเ้รียก signature - ซิกเนเจอร์ หรือ ลายเซ็น)

สไตล์ มันแสดงถึงความ"นิ่ง เชื่อถือได้" (consistency)

Once you start charging money for your services, you have to guarantee a certain level of quality and produce it consistently. A good portfolio would do most of the selling for you.

เมื่อไหร่ที่เก็บเงินชา่วบ้านเขา เมิงต้องรับประกันคุณภาพที่สม่ำเสมอ!!!

พอร์ตดีๆ มันพูดแทน แถมน่าเชื่อถือกว่าเยอะ

5. You have a means of sharing your work and contact info.

ต้องมีหนทางที่จะแชร์งาน และหนทางติดต่อ

It’s plain and simple: if people can’t find you, you won’t get any business.

ตรงไปตรงมา
ลูกค้าหาคุณไม่เจอ ใครเขาจะมาจ้าง?

Before launching a website, make sure you’ve put thought into your brand identity and have optimized your site for searches (known as SEO or Search Engine Optimization).

ก่อนจะสร้างเว็บโปรโมตตัวเอง แน่ใจว่า คิดถี่ถ้วนแล้วว่า แบรนด์ตัวเองคืออะไร แล้วปรับเว็บให้เพ๊ะกับ SEO
(ถ้าไม่รู้ว่า อะไรคือ SEO ก็อย่าไปฝันจะทำเว็บโปรโมตแบรนด์ตัว)

บลาๆๆ ที่เหลือของข้อนี้ ชั่งมัน ขี้เกียจแปล

6. You have all your documents in order.


เตรีัยมเอกสารให้แม่นๆนะเฟ้ย!! (อันนี้ ยืนยัน นั่งยัน ถีบ S4 ยัน)

You’ve registered your business, gotten insurance, filed for a business license (ie, LLC, Sole Proprietorship, S-Corp), and have a contract ready to send your clients when they book your services.

เริ่มธุรกิจเมื่อไหร่ .. ทำเอกสารให้เรียบร้อย

โดยเฉพาะสัญญาข้อตกลงกับลูกค้า (ตายกันมาเยอะแล้ว ไอ้พวกสัญญาปากเปล่า)

You have also spoken with a small business attorney and tax accountant, and have opened a separate bank account for your business.

**ต้อง**คุยกับทนาย บัญชี ภาษี ฯลฯ ให้ดีๆ (โดนย้อนหลัง ตายหยังเขียด)

**อย่าลืมแยกบัญชีธนาคาร ของธุรกิจถ่ายภาพ ออกจากบัญชีอื่น**
(เรื่องนี้ ทำเอาผมเคยเกือบตายมาแล้ว)

7. You know who you are and what kind of photographer you are.


(ข้อนี้ยาวอิ๊บอ๋าย ต้องสองพาร์ต)

รู้ตัวเองให้มันชัดๆ อย่ามั่ว อย่าเดา อย่านิ่ม อย่าติ่ง

!!! รู้ตัวเองว่า ตัวเองเป็นช่างภาพแบบไหน !!!

This may sound ridiculously simple, but it’s often overlooked.

เรื่องนี้ ดูเหมือนเรื่องประสาทแดกที่มาเน้นย้ำ แต่ .. ส่วนใหญ่แมร่งละเลยกันหมด!!

Know what specialty you want to have before you start, so you won’t waste your efforts growing a side of your business that you do not love.

รู้ว่า ตัวเองชำนาญด้านไหน ก่อนเริ่มรับงาน .. จะได้ไม่ต้องเสียเวลาไปรับงานที่ตัวเอง**ไม่รัก**
(และ "พยายาม"จะทำมันให้ออกมาดี)

Especially if you are in a saturated market, stick with your own style – whether it’s a style of shooting, processing, or photography – so you can differentiate yourself from others.

ยิ่งถ้ารับงานในตลาดที่อิ่มตัวแล้ว (อย่างเช่น ช่างภาพงานรัีบปริญญา) .. ยึด "แนวทางตัวเอง" (สไตล์, signature ฯลฯ) ให้มั่นๆ ไม่ว่า จะเป็นสไตล์การถ่ายภาพ, สไตล์การแต่งภาพ ฯลฯ

สไตล์เจ้า ต้องมีเอกลักษณ์ของเอกบุรุษ .. แตกต่างกับคนอื่น .. ลูกค้าเขาถึงจะปรายตามอง

Do what you love, know your own strengths, and be yourself. This will help you attract the right clients for you. (The right client for Business A is not necessarily the right client for Business B.)

ทำในสิ่งที่ตนรัก ลงแรงในสิ่งที่ตัวแกร่ง

เรื่องนี้ จะดึงลูกค้าที่ชอบใจสไตล์เจ้ามาหาเจ้าเองแหละ

ลูกค้า ที่ชอบสไตล์โลลิต้าของน้า @Nick Dhapana ย่อมไม่ใช่ลูกค้าของอีตา @ยอดมนุส โบฮีเมี่ยน

Starting and running a successful business takes a lot of resources — namely, your money, time, and energy. If you aren’t sure about something (ie, the quality of the images you’re producing, how to use your equipment, the profitability of a shoot), people will feel that uncertainty and won’t invest in you.

ธุรกิจ ไม่ว่าตอนเริ่มหรือตอนรุ่ง "ต้องการ" อะไรจากคุณมากเหลือเกิน ไม่ว่า เงินทอง เวลา พลังกายพลังใจ

ถ้าคุณเองเริ่มโลเลกับอะไรบางอย่าง (อย่างเช่นคุณภาพภาพ หรือ เงอะงะตอนหยิบกล้อง ปรับเลนส์ ฯลฯ) .. ลูกค้าก็จะลังเลกับคุณทันที

Make the necessary preparations before starting your business, so you can be confident when you do.

เตรียมพร้อมและฟิต มันเริ่มก่อนลงสนามแข่งขัน **ธุรกิจ** เพื่อที่จะได้ตบลูกหน้าเน็ตอย่างมั่นใจ

จบ
ฟิน




* * * * * * * * * *

อ้างอิงข้อมูล


ไม่มีความคิดเห็น:

แสดงความคิดเห็น